การขัดเกลาทางสังคม (Socialization)
คำที่มักใช้ในความหมายเดียวกัน คือ สังคมกรณ์, สังคมประกิต, การอบรมเรียนรู้ทางสังคม, การทำให้เหมาะสมแก่สังคม
คำจำกัดความ เป็นกระบวนการทางสังคมกับทางจิตวิทยา ซึ่งมีผลทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคม
ต้องการ เด็กที่เกิดมาจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนให้เป็นสมาชิกที่สมบูรณ์ของสังคม สามารถอยู่
ร่วมและมีความสัมพันธ์กับคนอื่นได้อย่างราบรื่น ทำ ให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติเป็นมนุษย์ผู้มีวัฒนธรรม มีสภาพต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่น
ต้องการ เด็กที่เกิดมาจะต้องได้รับการอบรมสั่งสอนให้เป็นสมาชิกที่สมบูรณ์ของสังคม สามารถอยู่
ร่วมและมีความสัมพันธ์กับคนอื่นได้อย่างราบรื่น ทำ ให้มนุษย์เปลี่ยนแปลงสภาพตามธรรมชาติเป็นมนุษย์ผู้มีวัฒนธรรม มีสภาพต่างจากสัตว์โลกชนิดอื่น
หลักสำคัญของกระบวนการสังคมประกิต
1. การปะทะสัมพันธ์ของมนุษย์ เพื่อการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมตามมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของสังคม
2. ความสามารถในการใช้ภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อ การถ่ายทอดวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี และเป็นสื่อในการเรียนรู้
3. การยอมรับด้วยความรักใคร่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพ่อแม่เป็นสิ่งที่จำ เป็นมากที่จะทำ ให้เกิดการ
พัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
1. การปะทะสัมพันธ์ของมนุษย์ เพื่อการแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมตามมาตรฐานและเป็นที่ยอมรับของสังคม
2. ความสามารถในการใช้ภาษา ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อ การถ่ายทอดวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี และเป็นสื่อในการเรียนรู้
3. การยอมรับด้วยความรักใคร่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากพ่อแม่เป็นสิ่งที่จำ เป็นมากที่จะทำ ให้เกิดการ
พัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก
วิธีการขัดเกลาทางสังคม ทำ ได้ 2 ทาง คือ 1. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางตรง คือ การสั่งสอนและฝึกอบรมโดยพ่อแม่ และครูอาจารย์ทำให้
เด็กปฏิบัติตนตามที่สังคมคาดหวัง
2. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม เช่น การฟังอภิปราย ปาฐกถา การอ่านหนังสือตามห้องสมุด การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ การดูภาพยนตร์ การเข้ากลุ่มเพื่อน ทำ ให้เกิดการปรับตัวและพัฒนาบุคลิกภาพ
พื้นฐานทางชีวภาพที่ทำ ให้เกิดการขัดเกลาทางสังคม 1. การปราศจากสัญชาตญาณของมนุษย์
2. การต้องพึ่งพาผู้อื่นยามเยาว์วัย
3. ความสามารถในการเรียนรู้
4. ภาษา
ความมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสังคม 1. ปลูกฝังระเบียบวินัย
2. ปลูกฝังความมุ่งหวัง และแรงบันดาลใจ
3. สอนให้รู้จักบทบาทและทัศนคติต่างๆ
4. สอนให้เกิดความชำนาญหรือทักษะ
การอุบัติขึ้นมาแห่งตัวตน เมื่อไรก็ตามที่บุคคลยอมรับค่านิยมจากกลุ่มก็จะมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นในตัวบุคคล
การยอมรับค่านิยมเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดขึ้นมาแห่งตัวตน ซึ่งจะมีพร้อมกับกระบวนการขัดเกลาทาง
สังคม
แนวคิดของ Mead อธิบายว่าตัวตนมี 2 ประการ คือ 1. ตัวตน I คือ ตัวตนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกระฉับกระเฉง ตัวตนแบบนี้มักจะเกิดจาก
สังคมที่ให้อิสระภาพแก่บุคคลในการแสดงออกบ้าง ไม่เข้มงวดเกินไป ไม่ใช่ความต้องการของสังคม
2. ตัวตน Me คือ ตัวตนที่มีแต่ความเฉื่อย ไม่กระฉับกระเฉงว่องไว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นตัว
ตนที่ชอบทำ ตามคำ สั่ง ตัวตนแบบนี้มักเกิดจากกลุ่มที่ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัดในการฝึกอบรม
แนวคิดของ Freud แบ่งตัวตนเป็น 3 อย่าง คือ Id, Ego, Super-ego 1. Id เป็นตัวตนที่เกิดขึ้นโดยสัญชาตญาณ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ตัวตนแบบนี้เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่อยู่ในจิตไร้สำ นึก ทำ ให้คนรู้สึกโกรธ ยินดี หิว และความต้องการทางเพศ
2. Ego หรืออัตตา คือตัวตนที่เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่ทำ ให้บุคคลรู้สึกรับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เป็นตัวประนีประนอมระหว่างความต้องการทางชีววิทยากับความต้องการทางสังคม
3. Super-ego เป็นส่วนที่กำ หนดอุดมคติของบุคคล ตัวตนแบบนี้มีความหมายเท่ากับตัวมโนธรรม
มักเกิดในสังคมที่มีการเน้นระเบียบวินัย
การขัดเกลาทางสังคมช่วยสร้างตัวตนขึ้นมา 3 อย่าง คือ 1. ภาพเกี่ยวกับตัวตน (Self-image) โดยอาศัยการปะทะสัมพันธ์กับคนอื่น และโดยอาศัยภาษา ทำ ให้บุคคลเกิดความคิดเกี่ยวกับตนเองว่าเป็น "ฉัน" ( I ) Cooley กล่าวว่า "พฤติกรรมของคนที่มีต่อบุคคลนั้นเป็นเหมือนกระจกเงาที่ช่วยให้มองเห็นตัวเองว่าเป็นใคร
2. ตัวตนในอุดมคติ(Ideal-self) สร้างขึ้นจากทัศนคติที่คนอื่นมีต่อตน คนอาจสร้างภาพของสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อแสวงหาความรักและการรับรอง
3. ตัวตนปฏิบัติการ (Ego) เป็นสิ่งที่เราได้ทำ ไปในแต่ละวัน โดยได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่เพื่อมุ่งหวังให้เด็กควบคุมและพึ่งตนเองได้ ซึ่งเป็นช่วงสำ หรับการปฏิบัติหน้าที่ควบคุมและส่งเสริมการเป็นปึกแผ่นของตัวตน เช่น ความอดทน การมีระเบียบ การยอมรับผิด
วัยที่จำเป็นต่อการขัดเกลาทางสังคม คือ 1. เด็ก
2. วัยรุ่น
เด็กปฏิบัติตนตามที่สังคมคาดหวัง
2. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม เช่น การฟังอภิปราย ปาฐกถา การอ่านหนังสือตามห้องสมุด การฟังวิทยุ การดูโทรทัศน์ การดูภาพยนตร์ การเข้ากลุ่มเพื่อน ทำ ให้เกิดการปรับตัวและพัฒนาบุคลิกภาพ
พื้นฐานทางชีวภาพที่ทำ ให้เกิดการขัดเกลาทางสังคม 1. การปราศจากสัญชาตญาณของมนุษย์
2. การต้องพึ่งพาผู้อื่นยามเยาว์วัย
3. ความสามารถในการเรียนรู้
4. ภาษา
ความมุ่งหมายของการขัดเกลาทางสังคม 1. ปลูกฝังระเบียบวินัย
2. ปลูกฝังความมุ่งหวัง และแรงบันดาลใจ
3. สอนให้รู้จักบทบาทและทัศนคติต่างๆ
4. สอนให้เกิดความชำนาญหรือทักษะ
การอุบัติขึ้นมาแห่งตัวตน เมื่อไรก็ตามที่บุคคลยอมรับค่านิยมจากกลุ่มก็จะมีการเปลี่ยนแปลงบางอย่างเกิดขึ้นในตัวบุคคล
การยอมรับค่านิยมเป็นจุดเริ่มต้นของการเกิดขึ้นมาแห่งตัวตน ซึ่งจะมีพร้อมกับกระบวนการขัดเกลาทาง
สังคม
แนวคิดของ Mead อธิบายว่าตัวตนมี 2 ประการ คือ 1. ตัวตน I คือ ตัวตนที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกระฉับกระเฉง ตัวตนแบบนี้มักจะเกิดจาก
สังคมที่ให้อิสระภาพแก่บุคคลในการแสดงออกบ้าง ไม่เข้มงวดเกินไป ไม่ใช่ความต้องการของสังคม
2. ตัวตน Me คือ ตัวตนที่มีแต่ความเฉื่อย ไม่กระฉับกระเฉงว่องไว ไม่มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นตัว
ตนที่ชอบทำ ตามคำ สั่ง ตัวตนแบบนี้มักเกิดจากกลุ่มที่ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์อย่างเคร่งครัดในการฝึกอบรม
แนวคิดของ Freud แบ่งตัวตนเป็น 3 อย่าง คือ Id, Ego, Super-ego 1. Id เป็นตัวตนที่เกิดขึ้นโดยสัญชาตญาณ และเป็นตัวกระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมตามธรรมชาติ ตัวตนแบบนี้เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่อยู่ในจิตไร้สำ นึก ทำ ให้คนรู้สึกโกรธ ยินดี หิว และความต้องการทางเพศ
2. Ego หรืออัตตา คือตัวตนที่เป็นส่วนของบุคลิกภาพที่ทำ ให้บุคคลรู้สึกรับรู้สิ่งต่างๆ ตามความเป็นจริง เป็นตัวประนีประนอมระหว่างความต้องการทางชีววิทยากับความต้องการทางสังคม
3. Super-ego เป็นส่วนที่กำ หนดอุดมคติของบุคคล ตัวตนแบบนี้มีความหมายเท่ากับตัวมโนธรรม
มักเกิดในสังคมที่มีการเน้นระเบียบวินัย
การขัดเกลาทางสังคมช่วยสร้างตัวตนขึ้นมา 3 อย่าง คือ 1. ภาพเกี่ยวกับตัวตน (Self-image) โดยอาศัยการปะทะสัมพันธ์กับคนอื่น และโดยอาศัยภาษา ทำ ให้บุคคลเกิดความคิดเกี่ยวกับตนเองว่าเป็น "ฉัน" ( I ) Cooley กล่าวว่า "พฤติกรรมของคนที่มีต่อบุคคลนั้นเป็นเหมือนกระจกเงาที่ช่วยให้มองเห็นตัวเองว่าเป็นใคร
2. ตัวตนในอุดมคติ(Ideal-self) สร้างขึ้นจากทัศนคติที่คนอื่นมีต่อตน คนอาจสร้างภาพของสิ่งที่ควรจะเป็น เพื่อแสวงหาความรักและการรับรอง
3. ตัวตนปฏิบัติการ (Ego) เป็นสิ่งที่เราได้ทำ ไปในแต่ละวัน โดยได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่เพื่อมุ่งหวังให้เด็กควบคุมและพึ่งตนเองได้ ซึ่งเป็นช่วงสำ หรับการปฏิบัติหน้าที่ควบคุมและส่งเสริมการเป็นปึกแผ่นของตัวตน เช่น ความอดทน การมีระเบียบ การยอมรับผิด
วัยที่จำเป็นต่อการขัดเกลาทางสังคม คือ 1. เด็ก
2. วัยรุ่น
องค์กรที่ทำหน้าที่ขัดเกลาทางสังคม 1. ครอบครัว
2. กลุ่มเพื่อน
3. สถานศึกษา
4. สำนักงานหรือองค์กรที่บุคคลสังกัดอยู่
5. สถาบันศาสนา
6. สื่อสารมวลชน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น